วันอังคารที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2557

Remote Desktop from a Windows Machine to your Raspberry Pi


Remote Desktop from a Windows Machine to your Raspberry Pi




Remote Desktop เป็นการเข้าไปจัดการหน้าจอของ Raspberry pi โดยผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องอยู่หน้าเครื่องเราสามารรถจัดการหน้าจอ โดยการรีโหมดหน้าจอให้มาอยู่หน้าจอของคอมพิวเตอร์ของเราในที่นี้ใช้เครื่องมือรีโหมดที่มีอยู่ของ windows คือ "Remote Desktop Connection" ได้เลย ก่อนอื่นต้องมีการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตซะก่อนเพื่อติดตั้งแพ็กเก็ตต่าง


รายการอุปกรณ์


-ชุด Raspberry pi
-SD Card 4G Class4 ขั้นต่ำ-OS Raspbian "2014-01-07-wheezy-raspbian.ziphttp://www.raspberrypi.org/downloads
-Computer OS Windows
-WIFI USB / LAN Wires
-Mount+Keyboard

ขั้นตอนการติดตั้ง


ที่ตัว Raspberry pi มาติดตั้งโปรแกรมที่ใช้ในการรีโหมดเข้าไปด้วย XRDP
#sudo apt-get install xrdp
ตรวจสอบ IP ของ Raspberry pi แล้วจดจำไว้เพื่อที่จะเอาไปใช้ในการรีโหมดเข้ามาใน Raspberry pi แล้วรีสตาร์ตเครื่องใหม่เพื่อให้โปรแกรม XRDP เปิดใช้งานอัตโนมัติ ด้วยคำสั่ง
#ifconfig 
#sudo reboot


จะเห็นว่ามีการเปิดใช้งาน Remote Desktop Protocol Server : xrdp




มาที่เครื่อง Windows ที่จะรีโหมดเข้าไปด้วย Remote Desktop Connection ไม่จำเป็นต้องติดตั้งเพิ่มมันมีอยู่แล้วในวินโดว์จากนั้น
ใส่ IP ของ Raspberry pi ในช่อง Computer 
เชื่อมต่อไปยัง Raspberry pi  โดยกดปุ่ม Connect




ใส่รหัสในการ Login ปกติหากยังไม่เปลียนรหัสโดย 
Username : pi   
Password : raspberry


ได้แล้วครับเราสามารถจัดการหน้าจอทุกอย่างได้ ทั้ง เมาส์ คีบอร์ด




วันพุธที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2557


HOW TO INSTALL KALI AND HACK WIFI WEP ON RASPBERRY PI 

( การติดตั้ง KALI และแฮกไวไฟแบบ WEP บน RASPBERRY PI )


การติดตั้ง Kali on Raspberry pi

อุปกรณ์และไฟล์ที่จำเป็นต้องใช้
Raspberry Pi Model B RAM 512 MB
SD CARD 8G Class 10 หรือมากกว่า
MINI USB WiFi (chip ralink 5370)
Kali for Raspberry pi
http://psg.mtu.edu/pub/kali-images/ 
Win32diskimager
http://sourceforge.net/projects/win32diskimager/



ขั้นตอนการติดตั้งระบบอย่างง่าย

โหลดไฟล์ kali-images จาก http://psg.mtu.edu/pub/kali-images/ และ Win32diskimager จาก http://sourceforge.net/projects/win32diskimager/ จากนั้นเสียบ SD CARD เข้ากับคอมพิวเตอร์


เปิดโปรแกรม Win32DiskImager เลือก Device และ ตำแหน่งไฟล์ kali-images ที่โหลดมาจากนั้นกด Write รอจนเขียนไฟล์ลง sd card เสร็จจากนั้น



ถอด SD Card มาต่อกับ Raspberry pi แล้วเปิดเครื่อง
Login : root
password : toor


เข้าหน้า x-windows ด้วยคำสั่ง
#startx


เป็นอันสำเร็จสำหรับการติดตั้งครับ


การ Hack Wep with kali  on Raspberry pi อย่างง่าย

เข้าเมนู fern-wifi-cracker
เลือกอินเตอร์เฟส (select interface) wlanX >> ค้นหา AP (scan access points) >> WiFi wep
เลือก AP (Select Target Access Point) >> ติก Automate >> คลิก WIFI Attack
รอการทำงานของโปรแกรมจนกว่าจะเสร็จ......

ระบบทำงานเสร็จแล้วครับ ได้รหัสมาแล้วครับ 
Key Database จะจัดเก็บข้อมูลไว้ครับ ง่ายใช่ไหมครับลองนำไปใช้กันดูครับ  


การ Hack Wep with kali  on Raspberry pi แบบ terminal text mode

วิธีนี้หลักการเดียวกับใน Backtrack ครับ โดยวิธีดูได้จากที่นี้ครับ 
http://micro2440.blogspot.com/2013/10/wep-cracking-using-backtrack-wep-linux.html 






https://www.facebook.com/BooindyIt?ref=hl
http://micro2440.blogspot.com/
http://raspberry-pi-thai.blogspot.com/
https://www.youtube.com/channel/UCDs7h_zNn444ONo5J3Ot3iQ/videos?sort=dd&view=0&shelf_id=1

วันอังคารที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2557

MONITOR CPU, MEMORY, GENERAL INFO ON RASPBERRY PI BY NODE.JS



MONITOR CPU, MEMORY, GENERAL INFO ON RASPBERRY PI BY NODE.JS

เราสามารถตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของระบบของเราได้โดยมีการแสดงบนผ่านหน้าเว็บและสามารมารถดาวโหลดไฟล์ภาพ และ ไฟล์ PDF เก็บไว้ได้ โดยการแสดงผลทั้งหมดที่มีก็คือ
CPU, MEMORY และ รายละเอียดต่างๆดังภาพ

วิธีทำก็มีสองส่วน คือ web server และ node js



ชุดติดตั้งแรกเป็นชุดติดตั้ง WEB SERVER สำหรับแสดงหน้า WEB BROWSER 


สร้างสิทธิของกลุ่มในการใช้ apache ชื่อ www-data และกำหนด user ใช้อยู่ในกลุ่ม
sudo addgroup www-data
sudo usermod -a -G www-data www-data
 อัพเดทระบบและติดตั้ง apache และ php5
sudo apt-get update
sudo apt-get install apache2 php5 libapache2-mod-php5
รีสตาร์ apache ให้เริ่มทำงานใหม่
sudo /etc/init.d/apache2 restart
ติดตั้งและตั้งค่่า MYSQL และ PHPMYADMIN และกำหนดรหัสผ่านของ Mysql ของ User root โดยทั้งสองครั้งต้องรหัสเดียวกัน >> แล้วเลือกติดตั้ง apache2 และ lighttpd โดยกด spacebar ให้เป็น "*" แล้ว ok >>  ระบบให้ใส่ยืนยันรหัสที่ได้ตั้งไว้แล้ว กด ok  >> yes
sudo ifup lo 
sudo apt-get install mysql-server mysql-client php5-mysql phpmyadmin
เข้าไปแก้ไขไฟล์ php.ini 
sudo nano /etc/php5/apache2/php.ini
โดยในหัวข้อ  "Dynamics Extensions"  ให้ลบเครื่องหมาย คอมเม้นข้างหน้าออก จากนั้นเซฟแล้วออกโดยกด ctrl+x >> y >>enter 
extension=mysql.so



sudo ln -s /etc/phpmyadmin/apache.conf /etc/apache2/conf.d/phpmyadmin.conf
sudo /etc/init.d/apache2 reload
สร้งไฟล์ testphp.php โดย
cd  /var/www
sudo nano testphp.php 
เพิ่มข้อความล่างนี้เข้าไปยังไฟล์ testphp.php 
<?php phpinfo(); ?>
เปิดเว็บบราวเซอร์แล้วใส่ ip host ของ raspberry pi ดังนี้

http://10.0.0.105/testphp.php


ถ้าได้ดังรูปแล้วเป้นอันว่าติดตั้งสมบูรณ์






ชุดติดตั้งสุดท้ายเป็นชุดติดตั้ง Node JS



อัพเดท อัพเกรด ระบบกันก่อน
sudo apt-get update && sudo apt-get upgrade
ติดตั้ง node.js  npm
sudo apt-get install nodejs npm git
ดึงไฟล์ที่เข้าทำไว้แล้วจาก github มาใช้งาน และเข้าไปยังไดเร็กเทอรี่  Raspberry-Pi-Status แล้วติดตั้ง npm
git clone https://github.com/GeekyTheory/Raspberry-Pi-Status.git
cd Raspberry-Pi-Status
npm install
npm config set registry http://registry.npmjs.org/
npm install
เรียกใช้งานให้ monitor ทำงานโดยการเรียกคำสั่ง  
nodejs server.js


จากนั้นเปิด web browser ใส่ IP Host ของ raspberry pi และ map ด้วย port 8000 ดังนี้

http://10.0.0.105:8000/

ได้แบบนี้เป็นอันสำเร็จสามารถครวจสอบรายละเอียดของระบบ ได้แล้ว





ที่มา http://geekytheory.com/tutorial-raspberry-pi-15-instalacion-de-apache-mysql-php/
http://geekytheory.com/panel-de-monitorizacion-para-raspberry-pi-con-node-js/
https://www.facebook.com/BooindyIt
https://www.youtube.com/channel/UCDs7h_zNn444ONo5J3Ot3iQ/videos?sort=dd&view=0&shelf_id=1

วันอาทิตย์ที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2557

Access Point (RT5370) on Raspberry Pi




Access Point (RT5370) on Raspberry Pi



ขั้นตอนแรกทำการอัพเดทระบบกันก่อน
sudo aptitude update; sudo aptitude -y upgrade
รีสตาร์เครื่องกันก่อนหลังจากอัพเดทระบบกันแล้ว
sudo shutdown -r now
หลังจากนั้นล๊อคอินแล้วเข้า user root แล้วตรวจสอบอุปกรณ์ I/O ว่ามีอะไรเชื่อมต่ออยู่บ้าง 
pi@raspberrypi ~ $ sudo su -
root@raspberrypi:~# lsusb
ผลของการใช้คำสั่ง
Bus 001 Device 002: ID 0424:9514 Standard Microsystems Corp.
Bus 001 Device 001: ID 1d6b:0002 Linux Foundation 2.0 root hub
Bus 001 Device 003: ID 0424:ec00 Standard Microsystems Corp.
Bus 001 Device 004: ID 148f:5370 Ralink Technology, Corp. RT5370 Wireless Adapter
ติดตั้งแพ็คเก็ต hostapd และ dnsmasq
aptitude install hostapd dnsmasq
เข้าแก้ไข network wireless wlano ให้เป็น static IP
nano /etc/network/interfaces

แล้วทำการแก้ไขให้เป็นดังนี้ หรือจาจะเปลี่ยน IP และ netmask เป็นแบบของคุณ

allow-hotplug wlan0
iface wlan0 inet static
  address 192.168.100.1
  netmask 255.255.255.0

#wpa-roam /etc/wpa_supplicant/wpa_supplicant.conf
iface default inet manual
ปิด nano โดย Ctrl+X, กด Y กด Enter
ตรวจสอบ wlan0 interface และ IP ที่ได้ตั้งค่าไว้ก่อนหน้าด้วยสองคำสั่งดังนี้
ifdown wlan0; ifup wlan0 
ifconfig wlan0 
 ผลการตรวจสอบ

wlan0 Link encap:Ethernet HWaddr xx:xx:xx:xx:xx:xx
inet addr:192.168.100.1 Bcast:192.168.100.255 Mask:255.255.255.0
UP BROADCAST MULTICAST MTU:1500 Metric:1
RX packets:0 errors:0 dropped:0 overruns:0 frame:0
TX packets:0 errors:0 dropped:0 overruns:0 carrier:0
collisions:0 txqueuelen:1000
RX bytes:0 (0.0 B) TX bytes:0 (0.0 B)
สร้างไฟล์ตั้งค่าสำหรับ hostapd ตำแหน่งของไฟล์ /etc/hostapd/hostapd.conf 
nano /etc/hostapd/hostapd.conf
แก้ไขตามนี้หรือจะให้เป็นแบบที่คุณต้องการ


interface=wlan0
driver=nl80211
ssid=RaspberryPi_AP
hw_mode=g
channel=6
macaddr_acl=0
auth_algs=1
ignore_broadcast_ssid=0
wpa=2
wpa_passphrase=Your_fav_super_password
wpa_key_mgmt=WPA-PSK
wpa_pairwise=TKIP
rsn_pairwise=CCMP
แก้ไขไฟล์ /etc/default/hostapd และลบคอมเม้นออก '#' ที่ DAEMON_CONF และเพิ่ม 
nano /etc/default/hostapd
ให้เป็นดังรูป

DAEMON_CONF="/etc/hostapd/hostapd.conf"
รีสตาร์ hostapd ด้วย 
/etc/init.d/hostapd restart
แล้วต่อด้วยคำสั่ง
update-rc.d hostapd enable
แก้ไข dnsmasq ด้วยคำสั่ง
nano /etc/dnsmasq.conf

interface=wlan0 
except-interface=eth0
dhcp-range=192.168.100.2,192.168.100.150,255.255.255.0,12h
รีสตาร์ dnsmasq
/etc/init.d/dnsmasq restart
แล้วตามด้วย
update-rc.d dnsmasq enable
แก้ไขไฟล์ 
nano /etc/sysctl.conf


แก้ไขโดยการเอา '#' ออก  จาก #net.ipv4.ip_forward=1 เป็น
net.ipv4.ip_forward=1

ใช้คำสั่ง
sysctl -p 
รันคำสามสั่งเพื่อ  forwarding
iptables -t nat -A POSTROUTING -o eth0 -j MASQUERADE
iptables -A FORWARD -i eth0 -o wlan0 -m state --state RELATED,ESTABLISHED -j ACCEPT
iptables -A FORWARD -i wlan0 -o eth0 -j ACCEPT
ใช้คำสั่งเพื่อบันทึกไฟล์ไปยัง /etc/iptables.nat
iptables-save > /etc/iptables.nat
 สร้างไฟล์ forwarding ใน /etc/network/if-up.d

echo '#!/bin/bash' > /etc/network/if-up.d/forwarding; echo 'iptables-restore < /etc/iptables.nat' >> /etc/network/if-up.d/forwarding; chmod +x /etc/network/if-up.d/forwarding
แก้ไขปัญหาหลังจากรีสตาร์โดยเปลี่ยนไฟล์ /etc/default/ifplugd ให้เป็นดังนี้ 
nano  /etc/default/ifplugd


INTERFACES="eth0"
HOTPLUG_INTERFACES="eth0"
ARGS="-q -f -u0 -d10 -w -I"
SUSPEND_ACTION="stop"